ปัจจุบัน หลายธุรกิจใช้คำว่า “Food Grade” บนผลิตภัณฑ์กระดาษของตนเพื่อสร้
หัวข้อย่อยมีอะไรบ้าง ?
เงื่อนไขที่ทำให้ผ่านมาตรฐาน มอก. 2948-2562
1. ต้องไม่มีสารอันตรายตกค้างบนตัวผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์
- ต้องไม่มีสารเคมีปลอดจากโลหะหนัก เช่น ตะกั่ว (≤3 mg/kg), แคดเมียม (≤0.5 mg/kg), ปรอท (≤0.3 mg/kg)
- ต้องไม่มีสารฟอกขาวเรืองแสง (optical brightening agents)
- ต้องไม่มีการถ่ายโอนสารต้านจุลินทรี
ย์ (antimicrobial constituents) - ต้องไม่มีสารฟอร์มัลดีไฮด์ (formaldehyde) และสาร BPA ที่อาจปนเปื้อนในอาหาร
2. ผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์ต้องใช้วัตถุดิบที่ปลอดภัย
กระดาษที่นำมาใช้หากเป็นเยื่อกระดาษรีไซเคิล ต้องห้ามใช้กระดาษที่ปนเปื้
3. ผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์ต้องผ่านการผลิตและกระบวนการสร้างที่สะอาด
- ขั้นตอนการผลิตต้องได้รับการรับรอง GMP (Good Manufacturing Practice)
- ผ่านการตรวจสอบตาม HACCP เพื่อป้องกันอันตรายทางเคมี
และจุลินทรีย์
4. บรรจุภัณฑ์ต้องมีข้อมูลรายละเอียดระบุชัดเจน
- บรรจุภัณฑ์ต้องมีข้อมูลผู้ผลิต
- ชื่อและที่อยู่ของผู้ผลิต
- เครื่องหมายการค้า
- ประเทศของผู้ผลิต
- รายละเอียดผลิตภัณฑ์
- ชนิดของบรรจุภัณฑ์
- วัตถุประสงค์การใช้งาน
- ขนาดและความจุ
- บรรจุภัณฑ์ต้องมีมาตรฐานรับรอง
- มาตรฐาน มอก.
- มาตรฐานการผลิต
- รหัสมาตรฐาน
- ข้อแนะนำการใช้งาน
- วิธีการใช้
- ข้อควรระวัง
- เงื่อนไขการเก็บรักษา
- มาตรฐานต้องบอกวันที่และรุ่นการผลิต
- วันที่ผลิต
- วันหมดอายุ
- รหัสล็อตการผลิต
เลือกบรรจุภัณฑ์กระดาษอย่ างไรให้ปลอดภัย ?
- ตรวจสอบว่ามีมาตรฐาน มอก. 2948-2562
- เช็คเอกสารรับรองจากโรงงานผู้
ผลิต - หลีกเลี่ยงกระดาษที่มีสีฉู
ดฉาดหรือไม่ระบุแหล่งที่มา - ใช้บรรจุภัณฑ์จากผู้ผลิตที่ได้
รับการรับรองระบบคุณภาพ เช่น ISO 22000, FSSC 22000, HACCP, GMP
สรุป
คำว่า “Food Grade” ที่ได้รับรองผ่านมาตรฐาน มอก. 2948-2562 จะรับประกันได้ว่าผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์นั้นปลอดภัยต่อผู้บริโภค โดยมีเงื่อนไขในการได้รับมาตรฐานจากข้อกำหนดตั้งแต่การไม่มีสารอันตรายตกค้าง, บรรจุภัณฑ์ต้องใช้วัตถุดิบที่ปลอดภัย, บรรจุภัณฑ์ต้องผ่านการผลิตและกระบวนการสร้างที่สะอาด และต้องมีข้อมูลรายละเอียดระบุชัดเจนเป็นต้น